ความรู้สุขภาพ 4.0

แพทย์ผิวหนังเผยสาเหตุของภาวะผมร่วง

กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคผิวหนัง เผยสาเหตุของภาวะผมร่วงเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ แต่ทุกสาเหตุสามารถรักษาได้ ผู้ป่วยที่มีภาวะผมร่วงแนะนำให้เข้ามาปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อรับการวินิจฉัยรักษาที่ถูกต้องนาย

อ่านบทความนี้

ปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อเราเป็นผู้สัมผัสเสี่ยงสูง ?

ที่มา : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข#สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์

อ่านบทความนี้

วัคซีน 4 เข็ม สร้างภูมิคุ้มกันทางใจ รับมือโควิด 19

1. วัคซีน DMHTT ความรู้สึกปลอดภัย เข้มมาตรการป้องกันโรค สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือ เว้นระยะห่าง ไม่ไปในสถานที่แออัด2. วัคซีนความหวัง มีมุมมองทางด้านบวก3. วัคซีนไม่ตระหนก การแยกแยะข้อมูลข่าวสาร รับฟังข้อ

อ่านบทความนี้

แพทย์ผิวหนัง เตือนแมลงมีพิษกัดต่อย แพ้รุนแรงอาจถึงขั้นเสียชีวิต

นายแพทย์มานัส โพธาภรณ์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า จากข่าวการเสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้นหลังการถูกมดตะนอยกัดของเด็กหญิงอายุ 11 ปี สร้างความตื่นตระหนกถึงความรุนแรงต่อการแพ้มด แมลง เกิดความสงสัยในอาก

อ่านบทความนี้

💉💉 วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สามารถฉีดพร้อมกับวัคซีนโควิด 19 ได้ โดยแนะนำให้ฉีดวัคซีนที่แขนคนละข้าง

 วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สามารถฉีดพร้อมกับวัคซีนโควิด 19 ได้ โดยแนะนำให้ฉีดวัคซีนที่แขนคนละข้าง การผ่อนคลายมาตรการป้องกันการควบคุมโรคโควิด 19 อาจส่งผลให้เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสไข้หวั

อ่านบทความนี้

 เผยประสิทธิผลวัคซีนในประเทศ ช่วงการระบาดของ Omicron

ㆍฉีด 2 เข็ม ป้องกันการติดเชื้อน้อยมาก ป้องกันการป่วยปอดอักเสบที่ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ การเสียชีวิตได้ 75%ㆍฉีด 3 เข็ม ป้องกันการติดเชื้อได้ 15% ป้องกันการป่วยปอดอักเสบที่ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ การเสียชีวิตไ

อ่านบทความนี้

4 มาตรการเตรียมพร้อมโควิด เข้าสู่โรคประจำถิ่น

 ประชาชน 2U• Universal Prevention• Universal Vaccination สถานประกอบการ เช่น โรงเรียน สถานที่ทำงาน• Covid Free Setting• ยกเลิก ตรวจวัดอุณหภูมิ / จำกัดการเดินทางข้ามพื้นที่

อ่านบทความนี้

 กินหมูดิบ ระวัง  เสี่ยงติดเชื้อไข้หูดับ

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เตือนประชาชนที่กินเลี้ยงหรือทำอาหารกินเองในครอบครัว ขอให้หลีกเลี่ยงการกินหมูดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ เสี่ยงป่วยด้วยโรคไข้หูดับ และอาจทำให้หูหนวกถาวรหรือเสียชีวิตได้ สำหรับวิธีกา

อ่านบทความนี้

5 วิธีป้องกัน ควบคุมโรคฝีดาษลิง

กรมควบคุมโรคเผย 'โรคฝีดาษลิง' ติดจากสัตว์สู่คนและคนสู่สัตว์ได้ 1. หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อหรือสัตว์ป่า2. หลีกเลี่ยงการกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพ

อ่านบทความนี้

💉💉 2U : วัคซีนเป็นหลัก รู้จักป้องกัน Universal Vaccination ยกระดับภูมิคุ้มกันด้วยการเร่งฉีดวัคซีน

 2U : วัคซีนเป็นหลัก รู้จักป้องกัน Universal Vaccination ยกระดับภูมิคุ้มกันด้วยการเร่งฉีดวัคซีนวัคซีนเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับควบคุมการระบาดของโรคเพื่อให้ประเทศไทยเข้าสู่โรคประจำถิ่นอย่างปลอดภัยท

อ่านบทความนี้

ข้อควรรู้ !! การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของใบกัญชา

หลังจากมีการปลดล็อกกัญชาเรียบร้อยแล้ว จะเห็นได้ว่าร้านอาหารต่างก็นำเสนอเมนูที่มีส่วนผสมของใบกัญชา เพื่อเป็นจุดขายประจำร้าน แต่ก็มีกระแสที่ไม่ค่อยดีเช่นกันกับผู้ที่รับประทานเข้าไป ซึ่งข้อควรรู้ในการบริ

อ่านบทความนี้

💥💥 อาการเมากัญชา

 อาการเมากัญชาผู้ที่ใช้กัญชาครั้งแรกในรูปแบบยาและอาหารควรเริ่มรับประทานในปริมาณน้อย ๆ เพื่อสังเกตอาการตอบสนองต่อกัญชา หากมีอาการเมากัญชา ซึ่งอาการแสดงที่ตอบสนองต่อกัญชาในแต่ละบุคคลมีอาการมากหรือน

อ่านบทความนี้

เปิดคำแนะนำ เมื่อต้องถอดหน้ากากอนามัย

จากที่เริ่มมีการผ่อนคลาย "ถอดแมสก์" โดยสมัครใจ และเริ่มมีผลทันที เพื่อให้ประชาชนสามารถดํารงชีวิตและดําเนินกิจกรรม กิจการได้ใกล้เคียงกับภาวะปกติมากที่สุดนั้น ทางกรมควบคุมโรคก็ได้มีคำแนะนำ เมื่อต้องถอดห

อ่านบทความนี้

โรคหอบหืด ลดความรุนแรงโรคได้ หากควบคุมสาเหตุและรับการรักษาอย่างถูกวิธี

นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า โรคหอบหืดไม่ใช่โรคติดต่อแต่สามารถถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรมได้ เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ที่มีความไวต่อสิ่งที่มากระตุ้นมากผิดปกติ ทำให้เกิด

อ่านบทความนี้

กระตุ้นคนไทย หากรู้ตัวว่า “เสี่ยง” ตรวจเอชไอวีได้ฟรี ปีละ 2 ครั้ง “HIV ตรวจเร็ว รู้ก่อน ก้าวต่อได้”

นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า สถานการณ์ผู้ป่วยเอชไอวีของประเทศไทย ณ สิ้นปี 2564 พบว่า มีผู้ติดเชื้อเอชไอวี จำนวน 520,345 คน (ข้อมูลจาก Thailand Spectrum-AEM, ณ วันที่ 22 เม.ย

อ่านบทความนี้

 กรมควบคุมโรคมีคำแนะนำ ในกรณีต้องถอด-สวมหน้ากากอนามัย หลังราชกิจจานุเบกษา ออกประกาศผ่อนคลายมาตรการโควิด 19 โดยความสมัครใจ เพื่อดำเนินชีวิตประจำวัน

ถอดหน้ากากอนามัยเมื่อ.... ขณะอยู่คนเดียว ออกกำลังกาย กินอาหาร ดื่มน้ำ อยู่บริเวณที่อากาศถ่ายเทสะดวก อยู่นอกอาคาร ที่โล่งแจ้ง อยู่ในอาคาร เว้นระยะห่างได้ ผู้ที่ควรใส่หน้ากากตลอดเวลา กลุ่ม

อ่านบทความนี้

ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับ COVID – 19

  COVID - 19 อาจทำให้หลายคนเกิดความกังวล และพยายามค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันตัวเองจากไวรัสตัวร้าย แต่ข้อมูลบนโลกออนไลน์โดยเฉพาะเนื้อหาที่แชร์ต่อ ๆ กันไปแบบไม่มีแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ อาจไม

อ่านบทความนี้

9 ภัยร้ายที่เกิดขึ้นช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID - 19 

ระวัง 9 ภัยร้ายที่นอกเหนือการระบาด COVID - 19 ที่อาจเกิดขึ้นใกล้ตัวหรืออาจเกิดขึ้นกับได้ทุกเมื่อ ดังนี้1. การหลอกขายหน้ากากอนามัยหรือเจลแอลกอฮอล์ปลอม ที่อาจส่งผลเสีย เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้2. การหลอกข

อ่านบทความนี้

รู้เท่าทันโฆษณาอาหารและยาช่วงโควิด 19 

เปิดวิธีตรวจสอบโฆษณาอาหารและยาช่วงโควิด 19 เพื่อไม่ตกเป็นเหยื่อของการขาย และถูกหลอกได้ง่าย ๆ เพียงทำตามวิธีนี้-ตรวจสอบประเภทผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตว่าเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทใด ถ้าเป็นประเภท “อาหาร&

อ่านบทความนี้

โรคฝีดาษลิง โรคติดต่อที่ต้องระวัง 

โรคฝีดาษลิง เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส orthopoxvirus เป็นโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนที่พบได้น้อย โรคนี้พบมากในแอฟริกากลาง และตะวันตก มักพบในสัตว์ตระกูลลิง และสัตว์ฟันแทะหลายชนิด เช่น หนู กระรอก กระต่า

อ่านบทความนี้

7 ข้อควรรู้ ฝีดาษลิงป้องกันได้

ฝีดาษลิง เป็นโรคติดต่อที่ติดจากสัตว์สู่คน ซึ่งสามารถป้องกันได้ หาปฏิบัติตาม 7 ข้อดังนี้1.ล้างมือบ่อย ๆ2.เว้นระยะห่าง3.เลี่ยงมีเพศสัมพันธ์กับคนที่ไม่รู้จัก4.ไม่ใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น5.เลี่ยงใกล้ชิ

อ่านบทความนี้

 เบอร์ฉุกเฉินช่วยเหลือภัย "น้ำท่วม" เซฟไว้เลย

~ ปภ. โทร. 1784~ บริการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ โทร. 1669~ ตำรวจทางหลวง สอบถามเส้นทางน้ำท่วม ขอความช่วยเหลือ โทร. 1193~ ศูนย์ความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท โทร. 1146~ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ (ICT) สายด่วน

อ่านบทความนี้

5 โรคยอดฮิต เมื่อคุณติดโซเชียลมากเกินไป

ปัจจุบันโลกออนไลน์ได้พัฒนาไปอย่างมาก ทำให้สื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ เข้าถึงได้ง่าย ทุกเพศ ทุกวัย และยากแก่การควบคุมดูแล บางคนอาจสร้างรายได้จากช่องทางนี้ แต่ในบางคนก็ต้องหมดอนาคตกับช่องทางนี้เช่นกัน รวมไปถ

อ่านบทความนี้

3 สิ่งที่ต้องทำ เมื่อพบว่าไฟลุกไหม้ตามร่างกาย

เมื่อตกอยู่ในเหตุเพลิงไหม้ ให้รีบออกมาในจุดที่ปลอดภัยให้เร็วที่สุด หากพบว่าไฟกำลังลุกไหม้ตามร่างกาย ให้ทำตามขั้นตอน ดังนี้1. Stop: หากไฟกำลังลุกไหม้ตามร่างกายให้หยุดวิ่งทันที2. Drop: นอนราบลงไปกับพื้น

อ่านบทความนี้

เตือน! อย่าดึงหน้ากากลงมาไว้ที่ใต้คาง 

บริเวณใต้คางเป็นจุดที่หน้ากากไม่ได้ป้องกันเชื้อ หากดึงหน้ากากมาไว้ที่ใต้คาง จะทำให้หน้ากากเกิดการปนเปื้อนของเชื้อโรค และเมื่อดึงกลับมาใส่ตามปกติ จะทำให้ได้รับเชื้อโรคผ่านทางปากและจมูก ดังนั้นถ้าต้องกา

อ่านบทความนี้

 แนวทางรักษาโควิด-19 สำหรับกลุ่มไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย

#สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์

อ่านบทความนี้

อีสุกอีใส ภัยร้ายใกล้ตัวเรา

นายแพทย์วีรวุฒิ อิ่มสำราญ รองอธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า สาเหตุของโรคอีสุกอีใส เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า ไวรัสวาริเซลลา (varicella virus) เป็นเชื้อไวรัสชนิดเดียวกับที่ทำให้เกิดงูสวัด โรคอีสุกอีใส

อ่านบทความนี้

เตือนภัยการใช้ไฟฟ้าหน้าฝน 

กรณีเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและทำให้เกิดอุบัติภัยทางไฟฟ้าได้ เช่น กระแสไฟฟ้าขัดข้องจากสาเหตุเสาอากาศ ป้ายโฆษณา ต้นไม้หรือกิ่งไม้ใหญ่ล้มทับสายไฟฟ้าแรงสูงและบ้านเรือนที่พักอาศัย เป็นเหตุให้กระแสไฟฟ้าดับเป็นวง

อ่านบทความนี้

 How to...ทิ้งหน้ากากอนามัย ปลอดภัย ลดโอกาสแพร่เชื้อ

1. ล้างมือให้สะอาดก่อนถอดหน้ากากอนามัย 2. จับสายรัด 2 ข้าง แล้วถอดออก โดยไม่ใช้มือสัมผัสกับตัวหน้ากาก 3. นำหน้ากากอนามัยใส่ถุงแยกจากขยะทั่วไป แล้วรัดปากถุงให้แน่น ป้องกันการกระจายของเชื้อ 4. ทิ้งลง

อ่านบทความนี้

ระวัง! กินปูนาดิบ หมึกช็อต กุ้งเต้น อันตรายต่อชีวิต

กระแสการบริโภคในสื่อออนไลน์ มีกลุ่มผู้บริโภคชื่นชอบการกินอาหารดิบ เช่น ปูนาเป็น ๆ ปลาหมึกสด ๆ กุ้งเต้น โดยไม่ผ่านการปรุงสุก ถือเป็นพฤติกรรมเฉพาะกลุ่ม รวมถึงความอยากทดลอง ประกอบกับมีการเผยแพร่คลิปวิดีโ

อ่านบทความนี้

 แพทย์ผิวหนัง ให้ความรู้โรคติดเชื้อแบคทีเรียทางผิวหนัง

นายแพทย์มานัส โพธาภรณ์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า ผิวหนังของคนเราจัดเป็นด่านแรกที่จะทำหน้าที่ป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคต่าง ๆ เมื่อใดที่มีปัจจัยให้ผิวหนังของเราอ่อนแอลง หรือ ความสมดุลของเชื้อประจำ

อ่านบทความนี้

5 ภัยอันตราย ที่จะมากับฤดูฝน 

เมื่อเข้าสู่ฤดูฝนแล้ว นอกจากการดูแลสุขภาพร่างกายให้ปลอดภัยจากโรคภัยต่าง ๆ แล้ว ยังอาจมีปัจจัยที่ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยฉุกเฉินซึ่งต้องระมัดระวังกันด้วย วันนี้จึงได้รวบรวมโรค และภัยอันตรายต่าง ๆ ที่ต้อง

อ่านบทความนี้

💥💥 เช็กด่วน!! ใครเสี่ยง? อาการรุนแรง เมื่อติดเชื้อฝีดาษวานร

 เช็กด่วน!! ใครเสี่ยง? อาการรุนแรง เมื่อติดเชื้อฝีดาษวานรที่มา : กรมควบคุมโรค#สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์

อ่านบทความนี้

การป้องกัน เมื่อมีสารเคมีรั่วไหล

#สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์

อ่านบทความนี้

 เบอร์ฉุกเฉินช่วยเหลือภัย "น้ำท่วม" เซฟไว้เลย

~ ปภ. โทร. 1784~ บริการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ โทร. 1669~ ตำรวจทางหลวง สอบถามเส้นทางน้ำท่วม ขอความช่วยเหลือ โทร. 1193~ ศูนย์ความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท โทร. 1146~ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ (ICT) สายด่วน

อ่านบทความนี้

ไฟรั่วในพื้นที่ฝนตกหรือท่วมขังสังเกตได้

ปัญหาไฟรั่วหรือไฟดูดที่เกิดขึ้นในบริเวณพื้นที่ที่มีฝนตก หรือน้ำท่วมขัง ถือเป็นภัยอันตรายที่หลายคนอาจจะไม่ทันสังเกต และอาจจะไม่ทราบว่าในพื้นใดจะเกิดไฟฟ้ารั่วได้บ้าง ซึ่งวิธีสังเกตและป้องกันเบื้องต้นในก

อ่านบทความนี้

กรมควบคุมโรค พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพรายสัปดาห์

กรมควบคุมโรค พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพรายสัปดาห์ฉบับที่ 38/2565 ประจำสัปดาห์ที่ 41 (วันที่ 9 - 15 ต.ค. 65)จากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค รายงานสถานการณ์ด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณี วาตภัย อุทกภัย และดิน

อ่านบทความนี้

เตือน!! โรคเมลิออยด์ (โรคไข้ดิน)

พบมากในฤดูฝนเป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในดินและน้ำ พบได้ทั่วประเทศไทยที่มา : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข#สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์

อ่านบทความนี้

8️⃣ วิธี บำบัดเด็กสมาธิสั้น

1. อย่าเปิดทีวีเสียงดังจนเกินไป สภาพแวดล้อมในบ้านต้องไม่วุ่นวาย หรือทะเลาะกันบ่อยครั้ง2. หามุมสงบสำหรับเด็ก เพื่อให้เกิดสมาธิในการทำการบ้าน3. ฝึกวินัยให้เด็ก สร้างกรอบกฎเกณฑ์ มีตารางเวลาชัดเจน ไม่ปล่อ

อ่านบทความนี้

หนาวนี้กับ 8 วิธีที่ควรทำ

1. กินอาหารปรุงสุกใหม่2. ไม่ควรดื่มเหล้าแก้หนาว เสี่ยงหัวใจวาย เสียชีวิต3. ดื่มน้ำอุ่น หรือน้ำสมุนไพรเผ็ดร้อน ช่วยเพิ่มการไหลเวียนโลหิต4. กินอาหารที่เป็นประโยชน์ “ครบ 5 หมู่”5. ระวังการก่อ

อ่านบทความนี้

5 วิธีรับมือฝุ่นละออง PM 2.5

กรณีหลายพื้นที่มีค่าฝุ่น PM 2.5 สูงเกินมาตรฐาน ซึ่งเรื่องนี้อาจทำให้ประชาชนเกิดความรู้สึกเครียดและวิตกกังวล จึงขอแนะนำแนวทางในการดูแลสุขภาพใจ เพื่อช่วยให้สามารถปรับตัว ปรับวิธีคิด และสามารถรับมือกับสถ

อ่านบทความนี้

จุดสังเกตก่อนซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ในปัจจุบันการค้าขายออนไลน์เป็นช่องทางการซื้อ ขายที่ง่ายและสะดวกที่สุด เพราะเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้อย่างทั่วถึง แต่ในข้อดีก็มีข้อเสียเนื่องจากทำให้หลายคนขาดความรอบคอบ ขาดการตรวจสอบสินค้าจึงทำให้ถูกหลอ

อ่านบทความนี้

ปภ.เตือนระวังอุบัติภัยทางน้ำ - อันตรายจากดอกไม้ไฟ โคมลอย พลุ ในช่วงเทศกาลลอยกระทง

เทศกาลลอยกระทงเป็นช่วงที่มีสถิติการเกิดอุบัติภัยสูง ทั้งการจมน้ำ อันตรายจากพลุ ดอกไม้ไฟ และโคมลอย เพื่อความปลอดภัย กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ขอแนะข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน

อ่านบทความนี้

6 ขั้นตอน เช็ดตัวลดไข้ให้ลูกในหน้าหนาว

ฤดูหนาวแบบนี้ ถ้าลูกน้อย เป็นไข้อีกคงแย่แน่ๆ เนื่องจาก ด้วยอากาศที่หนาวเย็นคุณแม่คงกังวลไม่น้อย หากจะต้องเช็ดตัวลดไข้ให้ลูกน้อยวันนี้เรามี 6 วิธีที่จะช่วยให้คุณแม่ทั้งหลายคลายกังวลลงไปได้ #NNT

อ่านบทความนี้

กรมควบคุมโรค ห่วงประชาชน เตือนให้ระมัดระวังป่วยด้วยโรคและภัยในช่วงฤดูหนาว...

กรมควบคุมโรค ห่วงประชาชน เตือนให้ระมัดระวังป่วยด้วยโรคและภัยในช่วงฤดูหนาว...   อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://shorturl-ddc.moph.go.th/yFLbv   ที่มา กระทรวงสาธาณสุข

อ่านบทความนี้

ซื้อยาผ่านเน็ตอันตราย ระวังได้ไม่คุ้มเสีย!

ถึงแม้ว่าการขายยาผ่านทางอินเทอร์เน็ตจะเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย แต่ก็ยังคงเห็นการขายยาผ่านทางช่องทางดังกล่าว และมีการจำกุมอยู่เป็นระยะ ๆ จึงอยากเตือนไปยังผู้ประกอบการอย่าขายยาผ่านทางอินเทอร์เน็ตโดยเด็ด

อ่านบทความนี้

5 โรคยอดฮิต เมื่อคุณติดโซเชียลมากเกินไป

ปัจจุบันโลกออนไลน์ได้พัฒนาไปอย่างมาก ทำให้สื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ เข้าถึงได้ง่าย ทุกเพศ ทุกวัย และยากแก่การควบคุมดูแล บางคนอาจสร้างรายได้จากช่องทางนี้ แต่ในบางคนก็ต้องหมดอนาคตกับช่องทางนี้เช่นกัน รวมไป

อ่านบทความนี้

ประชาชนผู้มีสิทธิบัตรทอง สามารถลงทะเบียนใช้สิทธิ/ย้ายสิทธิการรักษาสิทธิบัตรทอง ด้วยตนเอง ผ่านแอปพลิเคชั่น สปสช.

ประชาชนผู้มีสิทธิบัตรทอง สามารถลงทะเบียนใช้สิทธิ/ย้ายสิทธิการรักษาสิทธิบัตรทอง ด้วยตนเอง ผ่านแอปพลิเคชั่น สปสช. เพื่อความสะดวกของประชาชน สปสช. เพิ่มช่องทางลงทะเบียนหน่วยบริการประจำใหม่ผ่าน &ldq

อ่านบทความนี้

กรมอนามัย แนะ 4 กลุ่ม ออกกำลังกายเพิ่มความอบอุ่น รับลมหนาว

นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ฤดูหนาว การเตรียมความพร้อมร่างกายด้วยการออกกำลังกายก็เป็นสิ่งสำคัญ กรมอนามัยจึงแนะนำให้ประชาชนออก

อ่านบทความนี้

ประชาชนควรได้รับวัคซีนอย่างน้อย 4 เข็ม!!

ประชาชนควรได้รับวัคซีนอย่างน้อย 4 เข็ม เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกัน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง 608 หากท่านรับวัคซีนเข็มสุดท้ายนานเกิน 4 เดือน ให้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น   ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข &

อ่านบทความนี้