ข้อมูลส่วนบุคคลรั่ว เสี่ยงอะไรบ้าง

15 ส.ค. 2565 / กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ข้อมูลส่วนบุคคลรั่ว เสี่ยงอะไรบ้าง

เสี่ยงถูกขโมยตัวตน หรือสวมรอยเป็นเรา เพื่อไปก่ออาชญากรรม หรือทำเรื่องผิดกฎหมาย
เสี่ยงถูกใช้ประโยชน์ โดยที่เราไม่ยินยอม เช่น นำไปใช้โฆษณาทางการตลาด
เสี่ยงถูกขายให้บุคคลที่ 3
เสี่ยงถูกนำไปสร้างความเดือดร้อนรำคาญ เช่น การส่ง SMS ก่อกวนมายังโทรศัพท์มือถือ หรืออีเมล
เสี่ยงถูกติดตาม สะกดรอย สอดแนม ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือร่างกายได้

เพื่อเป็นการลดความเสี่ยง เราควรจะ
คิดก่อนโพสต์ โดยคิดไว้เสมอว่า “ทุกสิ่งที่เราโพสต์หรือแชร์ไม่ได้เป็นเรื่องส่วนตัวอีกต่อไป” คนอื่นสามารถเห็นหรือส่งต่อได้
ป้องกันตนเองด้วยการตั้งพาสเวิร์ดที่มั่นคง ปลอดภัย เช่น การใช้ MFA ยืนยันตัวตนแบบหลาย
ปัจจัย (OTP, PIN) หรือ การใช้ 2FA การยืนยันตัวตน 2 ชั้น
อ่านรายละเอียดให้ครบถ้วน ก่อนให้ข้อมูลส่วนบุคคลทุกครั้ง

ที่มา : ตำรวจสอบสวนกลาง
#ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม #AntiFakeNewsCenter

บทความที่เกี่ยวข้อง

Mobile Banking ใช้อย่างไรให้ปลอดภัย

Mobile Banking เป็นแอปพลิเคชันเกี่ยวกับการทำธุรกรรมการเงินต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ สะดวก รวดเร็ว แต่ในความสะดวกรวดเร็วนั้นก็มีความเสี่ยงในขณะใช้เช่นกัน ซึ่งมีวิธีปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปลอดภัยได้ดังนี้ &

อ่านบทความนี้

ซื้อยาออนไลน์ อันตรายกว่าที่คิด

การซื้อยาผ่านช่องทางออนไลน์มากินเอง มีความเสี่ยงที่จะได้ยารักษาที่ไม่ตรงกับอาการ ยาไม่มีคุณภาพ หรือยาปลอม ซึ่งการจะรักษา หรือบรรเทาอาการนั้น ๆ จะต้องเข้าไปปรึกษาอาการเบื้องต้นกับเภสัชกร เพ

อ่านบทความนี้

ของถูก ระวังถูกหลอก

ปัจจุบันนี้มิจฉาชีพมีการออกอุบายในการหลอกลวงขายสินค้าในช่องทางออนไลน์หลากหลายรูปแบบ วิธีการหนึ่งที่กลุ่มมิจฉาชีพนำมาใช้คือการ “หลอกขายสินค้าราคาถูก” โดยจะมีการออกอุบายดังนี้ จะมีการ

อ่านบทความนี้